Somdej Pra Bhuddhachara Toh Prohmarangsri 圣僧 阿占多

Somdej Pra Bhuddhachara Toh Prohmarangsri 圣僧 阿占多

2010年10月15日星期五

Wat Khun Intapramul

Wat Intapramul is located on an 80-rai plot of land in Bhothitong District, Angtong Province. It was officially recognized as a temple on March 8th, BE 2470.

During ancient times it is known that local farmers would lead their livestock to the temple grounds in November and December to escape local flooding on the surrounding plains.

There are no clear records of the history of this temple but information still exists about the famous reclining Buddha that dominates the temple.

It is recorded that about 800 years ago, King Ler Thai of the Sukhothai Kingdom had traveled through the area and witnessed a strnge ball of light in the night skies. As a result of this he decided to build a sacred Buddhist image in memory of the event.


He called upon about 1,000 labourers to help construct a giant sleeping Buddha, 20-Wa long by five-Wa high.
(Wa is a Thai measurement unit equals to two meters.)

It took about five months to complete the work, and construction was completed in BE 1870. The king named the Buddha as Phra Buddha Siyas Ler Thai Narumit.

He also assigned five men to guard the Image before he returned to his palace in Sukhothai Province, which was then capital of the Thai Kingdom.

The reclining Buddha remained undamged for hundreds of years, until such time thieves became aware of the possibility that beneath could exist precious artifacts.

It was not easy to start excavating under the Buddha but a secret hole was dug. Unfortunately valuables were recovered and removed from the site before monks noticed ground subsidence.The unstable foundations led to the total collapse of the Buddha on October 14, B.E.2541, 11.00am.
Many precious articles were removed but fortunately much of the treasure still remained including sacred amulets.
 AMULETS
Pra Somdej Kru Khun Intapramul amulets, apart from their age, are very interesting indeed as any serious collector will attest. They are remarkably similar to amulets created by Somdej Buddhachan Toh, Wat Rakhang, both in design and composition.

All ancient amulets, which are called “Pra Somdej ”, will have been created by senior monks who were at the very least appointed by Somdej Toh , for example Somdej Pra Buddhacharn Tor, Somdej Pra Sungkarachjao Sook Gaitern.

What is known for sure is that Somdej Buddhacharn Toh had visited this temple on a number of occasions to pay homage to the reclining Buddha. It is believed by most experts that at the very least he would have supported the creation of these amulets if not created by himself.

Many people firmly believe that he did create these amulets and further more many competitions permit these amulets in the Somdej Toh class.

There are four major classes of pim, some of which are quite difficult to distinguish to the untrained eye.
1.Pim Pra Prathan (Chairman Buddha Image style)
2.Pim Yai (Large size)
3.Pim Song Chedi (Chedi-shape)
4.Pim Lek or Pim Kanaen (small size)

NOTE: There is also one other pim known as PHRA SOMDEJ 7 CHAN OK RONG HU BAISRI which is incredibly rare, and well worth collecting in any condition as these pims fetch premium prices.
Wat Lingkob / Wat Bowonmongkhon
Wat Bowonmongkhon was formerly called Wat Lingkob, restored and given to the Mon people for their religious rites by Somdet Phra Bowonratchao Krom Phraratchawangbowon Mahasenanurak. It is located on the banks of the Chaophrya at Thonburi 
In BE 2411, the then current Abbot of the temple was Pra Sumethachan. He entered the priesthood as a novice at the age of 10 before being ordained at Wat Bangput, Nothaburi. In 2399 he moved to Wat Chanasongkram, Banglampu, before being invited to take up the position of Abbot at Wat Lingkob after the death of the previous Abbot, Pra Ramanmunee.


It is recorded that he constructed a new Chedi which he was to fill with many votive tablets such as Phra Kleep Bua made from baked clay and other valuables.

The blessing ceremony attended by many leading monks of the era was presided over by none other than Pra Somdej Buddhachan Toh himself, making these amulets extremely valuable and highly collectible.
Kleep Bua Amulets blessed especially to store in the sacred chedi


What is even more exciting is that these amulets are still affordable and I would highly recommend that any serious collector secure at least a single pim.

These amulets were not recovered until March BE 2509 when part of the chedi collapsed due to water erosion. Originally thieves were first to discover the breach and although the temple was alerted and guarded by local police still more of the cache was stolen. The Religious Affairs Department finally gave permission for the Chedi to be formerly excavated. Amongst the scared amulets other Buddhist relics such as gold rings and takruts were also uncovered.

Many of the amulets are heavily stained with fungus or worn away, but it is still possible to acquire clean examples as shown above. These amulets are generally quite easy to identify although fakes abound. (Note the slight fungal growth and finger prints to the rear.)

Kleep Bua literally mean lotus petal Address:

Charansanitwong 44 Lane ,Charansanitwong Road ,Bangyeekhan Sub-District,
Bangplad District Bangkok ,10700

 ประวัติศาสตร์ที่พร้อมรอการพิสูจน
พระกรุขุนอินทประมูล ได้เริ่มแตกกรุออกมาในยุคแรกๆ นับเป็นเวลากว่า ๒๐ ปี มาแล้ว ระหว่างปี ีพ.ศ.๒๕๓๐-๒๕๕๑ หลายๆท่าน อาจจะเกิดความงงและสงสัยว่าเอ๊ะ....ไม่เห็นจะรู้เรื่องเลย ซึ่งมันก็มิใช่เรื่อง แปลกที่ท่านและคนอื่นๆอีกกว่า ๖๐ ล้านคนจะไม่ได้รู้เรื่องรู้ราวใดๆเลย เพราะพระกรุขุนอินทประมูลที่ได้แตกกรุ ออกมานั้นเกิดจากการแอบขุดของคนบางกลุ่ม โดยการขุดตรงบริเวณด้านหลังกึ่งกลางองค์หลวงพ่อพระใหญ่ ซึ่ง เป็นพระนอนที่มีความยาว ๒๕ วา ของวัดขุนอินทประมูล โดยหัวหน้าขบวนการ เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในสถาน บริเวณแห่งนั้นร่วมกับลูกน้องอีกจำนวนหนึ่งซึ่งมีทั้งหมดไม่เกิน ๑๐ คน อัน เป็นกลุ่มปฏิบัติการที่รู้เรื่องราวมาโดย ตลอด การกระทำโดยการแอบขุดของคนจำนวนไม่ถึง ๑๐ คนนั้น กระทำการโดยการปกปิดมาโดยตลอดกว่า ๒๐ ปีมานี้จะเป็นที่ทราบโดยทั่วถึงกันกับคนอีกกว่า ๖๐ ล้านคน มันคงเป็นไปได้ยากอย่างยิ่งที่จะเห็นและรู้ได้เพราะ การแตกกรุของวัดขุนอินทประมูล ไม่เหมือนกับวัดอื่นๆ ทั่วไป ซึ่งประโคมเป็นข่าวใหญ่โตรู้กันไปทั่วบ้านทั่วเมือง เหตุที่ข้าพเจ้านำข้อมูลมาเปิดเผย ก็เพื่อให้คนอีกกว่า ๖๐ ล้านคนได้ทราบ ได้พิจารณาตามเหตุและผลเพื่อให้ ประวัติศาสตร์ของชาติที่ถูกบันทึกไว้ก่อนแล้วนั้น จากส่วนที่เป็นนามธรรมให้ สมบูรณ์เป็นรูปธรรมชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่ง ก่อนหน้านั้น ข้าพเจ้าก็คืออีกคนหนึ่งที่ไม่เคยรู้เรื่องราวเช่นนี้มาก่อนเลยเช่นกันปฐมเหตุได้เกิดขึ้นกับข้าพเจ้าครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๔ มีท่านอาจารย์ รูปหนึ่งที่ข้าพเจ้าเคารพนับถือ เมตตากรุณาให้พระข้าพเจ้ามา ๒ องค์ เป็นพระพิมพ์สมเด็จ ท่านบอกข้าพเจ้าแต่เพียงสั้น ๆ ว่าเป็นพระกรุวัด ขุนอินทประมูลความสงสัยใคร่ที่อยากจะรู้ความจริงก็เกิดจากเหตุที่ได้พระสมเด็จมา ๒ องค์นี้เอง ด้วยอยากรู้ว่า เท็จจริงประการใด จึงได้เกิดการนำสืบ ค้นคว้า พิสูจน์ ทั้งด้านพยานบุคคล พยานวัตถุ หลักฐานเอกสารต่างๆ เท่าที่จะหาได้ เพื่อนำ มาประมวลหาเหตุและผลในการพิสูจน์หาความจริง ซึ่งได้กระทำการค้นคว้าพิสูจน์มาได้ ๗-๘ ปี แล้ว จนมั่นใจได้แล้วว่าทุกอย่างที่ได้รับรู้มาเป็นเรื่องจริง และก็ต้องกราบขออภัย ซึ่งไม่สามารถเปิดเผย ชื่อเสียงเรียงนามของเหล่าขบวนการแอบขุดเหล่านี้ได้ เพราะไม่เป็นผลดีต่อชื่อเสียงวงศ์ตระกูลของคนเหล่านั้น ย้อนหลังกลับไปเมื่อเกือบ ๒๐ ปีก่อนนั้น วัดขุนอินทประมูลยังไม่ค่อยมีคนนิยมมาท่องเที่ยว มากราบไหว้พระมาก มายเหมือนเช่นปัจจุบันนี้สมัยก่อนพื้นที่รอบด้านจะถูกล้อมรอบไปด้วยท้องนา รกไปด้วยป่าด้วยหญ้าไม่ค่อยมีคน พลุกพล่าน

ส่วนการขุดที่ข้าพเจ้าสืบทราบมานั้น จะทำการขุดในยามวิกาลหรือเวลากลางคืน พอกลางวันก็จะใช้ไม้อัด และสังกะสี ปิดปากหลุมที่ขุดโดยโช้ดินกลบทับไว้อีกทีเพื่อป้องกันไม่ให้คนสังเกตเห็น ทำการขุดเช่นนี้ตลอด เวลาที่ล่วงมากว่า ๒๐ ปี การขุดจะขุดในตำแหน่งบริเวณด้านหลังตรงกึ่งกลางองค์พระนอน ห่างจากองค์พระ  นอนออกมา ๑ เมตร หลุมกว้าง ๑ เมตรและขุดลึกลงไป ๑.๕๐ เมตร โดยขุดเจาะเป็นโพรงหรืออุโมงค์ตลอด
ตามแนวความยาวขององค์พระนอนทั้งด้านหน้าและด้านหลังตลอดรอบองค์พระจนเวลาล่วงมาถึง ตุลาคม ๒๕๔๑ ดินชั้นบนที่เป็นฐานรองรับน้ำหนักองค์หลวงพ่อเกิดทรุดตัวเหตุเพราะดินชั้นล่างถูกขุดทำลาย ทำให้ส่วนที่เป็นปูน ที่ฉาบก่อด้านหลังองค์หลวงพ่อ พังครูดทลายลงมาตลอดทั้งแนวทำให้องค์หลวงพ่อใหญ่ อันเป็นพระนอนศิลป์ สุโขทัยยาว ๒๕ วาหรือ ๕๐ เมตร ที่สวยงาม สง่างามและยาวที่สุดของประเทศไทยต้องพังทลายลงคงเหลือ เพียงในส่วนของด้านหน้า ส่วนของพระเศียรและพระบาทขององค์พระเท่านั้นที่ไม่พัง
 เหตุการณ์ในครั้งนั้นได้เกิดขึ้นในเวลา ๑๐.๓๐ น.ก่อนเพลของวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๑ เกิดเสียงลั่น ดังสนั่นปานฟ้าผ่า ตรงบริเวณ องค์หลวงพ่อใหญ่ เกิดเสียงลั่นดังสนั่นดังนี้ถึง ๒ คราครั้งแรกเกิดตอนกลางวัน เวลา ๑๐.๓๐ น. ครั้งที่สอง เกิดตอนกลางคืนเวลาประมาณ ๓- ๔ ทุ่ม ซึ่งขณะนั้นวัดมีการจัดงานมีมหรสพ  พอสิ้นเสียงลั่นดัง ครั้งที่สอง องค์หลวงพ่อใหญ่ก็ทรุดลงเป็นกองอิฐกองปูน จุดประสงค์ของกลุ่มที่ขโมยขุดไม่ได้ มุ่งหวังขุดหาพระสมเด็จแต่อย่างใดแต่ หวังของที่มี มูลค่าสูง เช่น พระพุทธรูปบูชาแก้วแหวนเงินทองอัญมณีม ีค่าต่าง ๆ ได้พระพุทธรูปทองคำ ก็นำไปหลอมเป็นทองแท่งแล้วนำไปขายที่ร้านทอง เพื่อทำลายหลักฐานอันนำ
มาซึ่งความผิด อันอาจจะถึงตนเองได้ แต่กลุ่มคนเหล่านี้ก็หาได้หนีพ้นวิบากกรรมที่ตนได้ก่อขึ้นแล้วนั้นได้หัวหน้าขบวนการที่เคยรุ่งเรืองทั้งตำแหน่ง และฐานะในขณะนั้น ต้องมีอันระเห็จระเหเร่ร่อนไปทั่ว หาที่พำนักเป็นหลักแหล่งอันแน่นอนไม่ได้ ทรัพย์สินที่เคยม ีสถานะที่เคยดำรงอยู่ก็เสื่อมมลายสลายไปสิ้น ทุกข์กาย ทุกข์ใจหาทางออกไม่พบ หมดทางต้องหันไปพึ่งพายาบ้า ยาเสพติด เพื่อหวังให้ช่วยคลายทุกข์ในยามมืดมนหมดหนทาง ส่วนคนที่ลงมือขุดบางคน ประสพอุบัติเหตุถึงขั้น สาหัสเกือบแทบจะเอาชีวิตไม่รอด เหตุมอเตอร์ไซค์ที่ขี่ไปล้ม ถูกรถบรรทุกขนาดใหญ่เหยียบซ้ำ จนมอเตอร์ไซค์ และหมวกกันน็อคที่ใส่หลุดออกจากศีรษะบี้แบนพังยับเยินล้วนเป็นฝันร้ายของชีวิต ที่ชะตากรรมต้องประสพอันเกิด จากกรรมได้ลิขิตไว้ทั้งสิ้น  การบูรณะปฏิสังขรณ์ แต่ถ้ามองหาส่วนที่ดีในสิ่งที่ไม่ดีนั้น ย่อมมีอยู่เสมอ ไม่ว่าสิ่งนั้นจะเป็นแค่เพียงเศษขยะหรือแม้แต่จากมหา
โจรร้ายเพราะอย่างน้อยประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง กับพระสมเด็จชุดนี้ก็ได้ ถูกเปิดเผยขึ้นโดยน้ำมือของคนกลุ่มนี้ นับว่าในมุมแห่งความมืดก็ยังมี ความสว่างที่ส่องให้เห็นความจริงอันเป็นประโยชน์ต่อประวัติศาสตร์ของชาติอย่าง เอนกอนันต์ กาลเวลาล่วงเลยมากว่า ๑๐ ปี นับจากปี ๒๕๓๐-๒๕๔๑ ความก็มาแตกเมื่อความจริงเป็นที่ปรากฏว่า ใน วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๑ พระนอนที่ใหญ่และสวยงามที่สุดองค์หนึ่งของประเทศไทย ต้องพังทลายลงทั้งองค์ จากน้ำมือของมนุษย์บางกลุ่มที่ทำการแอบขโมยขุด ดังเอกสารสำนวนการสอบสวนที่ลงประกาศไว้ทาง นสพ.ไทยรัฐ หมายเลขข่าวที่ ๑๑-๐๑๒-p๑๙ วันที่ ๒๒-๑๑-๒๕๔๑ หน้า ๑๙-๕ ดาว ประเภทการศึกษา ของอธิบดีกรมศิลปากรในขณะนั้นความว่า ยกเลิกสร้างวิหาร:นายนิคม มูสิกะคามะ อธิบดีกรมศิลปากร ได้มีคำสั่งเมื่อวันที่ ๒๐ พ.ย. ส่งไปถึงเจ้า อาวาสวัดขุนอินทประมูล หมู่ ๓ ต.ขุนอินทประมูล อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง ให้ยกเลิกรูปแบบรายการสร้างวิหาร คลุมพระนอนขุนอินทประมูลที่ดำเนินการมานานและยกเลิกกรรมการซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของกรมศิลปากร ๓ คนที่มา ควบคุมดำเนินการก่อสร้าง เนื่องจากพบว่าองค์พระนอนชำรุดมากมีผู้ลักลอบขุดทำลายจนเกรงเกิดอันตราย นอก จากนี้ยังมีกระแสข่าวว่า กรรมการจากกรมศิลปากรมีส่วนร่วมกับกลุ่มบุคคลขุดทำลายองค์พระ จนพังทลายลงมา แล้วมีการเบิกเงินเพิ่มขึ้น ทางอธิบดีกรมศิลปากรจึงสั่งยกเลิกการควบคุมก่อสร้างและให้หยุดการก่อสร้างไว้ชั่วคราว จนกว่าจะหาวิธีบูรณะองค์พระนอนให้มั่นคงก่อนจะออกแบบสร้างหลังคาคลุมองค์พระนอนต่อไป
 นับเป็นบทสรุปที่ชัดเจนของกลุ่มคนที่กระทำการโดยมิชอบ ส่วนรายละเอียดของประวัติที่มาที่ไปของพระ สมเด็จกรุขุนอินทประมูลนี้ ที่จะนำเสนอทุกท่านเพื่อพิจารณาในลำดับต่อไป จะขอเปิดประเด็นที่ความเชื่อมต่อ
ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๐๙ และปี พ.ศ. ๒๔๑๐ ว่ามีความสำคัญเกี่ยวพันและสัมพันธ์ต่อกันอย่างใด ท้ายสุดนี้ขออำนวยพรให้ทุกๆท่าน จงมีแต่ความสุขความเจริญ เป็นผู้ที่ทรงจิต ทรงในธรรม เจริญในอารมณ์์ ที่ตื่นรู้และเบิกบาน มีนิพพานเป็นบั้นปลาย ด้วยเดชะ อำนาจบารมีแห่งองค์สมเด็จพุฒาจารย์(โต)พรหมรังสี

ฤาษีกลางดง ข้ารับใช้แห่งองค์สมเด็จ(โต)

没有评论:

发表评论